Exotic pets
โรคของ Exotic pets
สรีระวิทยาของ Exotic pets
การเลี้ยง Exotic pets
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสุนัขและแมว
โรคประจำสายพันธุ์
การดูแลลูกสุนัขและแมวกำพร้า
โปรแกรมวัคซีนในสุนัขและแมว
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
เนื้องอกและมะเร็ง
เนื้องอกหรือมะเร็งเต้านม (Canine Mammary Gland Tumors)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
มะเร็งกระดูกในสุนัข (Osteosarcoma)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
ระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
โรคพยาธิหัวใจในสุนัข (Heart Worm Disease in Dogs)
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะหลอดลมตีบในสุนัข
วิธีการตรวจโรคหัวใจ
ภาวะโลหิตจาง (Anaemia)
ระบบประสาท
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
ภาวะความจำเสื่อมในสัตว์เลี้ยงสูงอายุ
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ระบบสืบพันธุ์
การคุมกำเนิด
ภาวะมดลูกอักเสบ (Pyometra)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
โรคกระดูกและข้อ และกายภาพบำบัด
เอ็นข้อเข่าฉีกขาด
ข้อสะโพกเสื่อม
กายภาพบำบัดในสัตว์เลี้ยง
ลูกสะบ้าเคลื่อน
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
โรคตาในสัตว์เลี้ยง
แผลหลุมที่กระจกตา
โรคของจอประสาทตา
โรคตาแห้ง (Dry Eye)
โรคต้อหินและต้อกระจก
โรคหนังตาม้วน
โรคที่สำคัญในแมว
โรคติดเชื้อที่สำคัญในแมว
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
โรคพยาธิเม็ดเลือดในแมว
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
โรคผิวหนัง
โรคขนร่วงแบบไม่ทราบสาเหตุ
โรคผิวหนังจากเชื้อรา
โรคขี้เรื้อน
โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อยีสต์
โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
ภาวะไตวายเรื้อรัง
นิ่วในสุนัข
โรคอื่นๆในสัตว์เลี้ยง
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
Cushings Disease
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
อุปกรณ์การแพทย์ในการตรวจวินิจฉัย
Endoscopy
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว (Diabetes Mellitus)
โรคเบาหวาน เกิดจากการที่ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในกระแสเลือด ไปใช้การเผาผลาญให้เป็นพลังงานได้ตามปกติ ซึ่งอาจเกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินจากตับอ่อน หรือความบกพร่องในการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน ทำให้เกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ร่วมกับการตรวจพบน้ำตาลออกมาในปัสสาวะ โรคเบาหวานพบได้ในสุนัขเพศเมียมากกว่าเพศผู้ถึงสองเท่า และพบได้บ่อยในสุนัขพันธุ์ พุดเดิ้ล ยอร์กไชร์เทอร์เรีย และชเนาเซอร์ เป็นต้น
อาการที่พบได้บ่อยได้แก่ กินน้ำมาก ปัสสาวะมาก ทานอาหารเก่งแต่น้ำหนักลด อาจพบภาวะต้อกระจกอย่างเฉียบพลันได้ในสุนัข และหากปล่อยไว้โดยไม่ได้รับการวินิจฉัยหรือรักษาที่ถูกต้องอาจนำไปสู่ภาวะคี โตนในเลือดสูง และเลือดเป็นกรดได้ การวินิจฉัยสามารถทำได้โดยการอดน้ำ และอาหารสัตว์เลี้ยงอย่างน้อย 12 ชั่วโมงเพื่อตรวจวัดระดับน้ำตาลในกระแสเลือด ร่วมกับการตรวจปัสสาวะ
การรักษา สัตว์ป่วยอาจจะจำเป็นต้องอยู่ที่โรงพยาบาลเพื่อทำการแก้ไขภาวะแห้งน้ำซึ่งพบ ได้บ่อยในสัตว์ป่วยโรคเบาหวาน และมีการวัดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดเป็นระยะๆภายหลังการให้ฮอร์โมนอินซูลิน จากนั้นจึงกำหนดปริมาณของฮอร์โมนที่เหมาะสมให้เจ้าของไปทำการฉีดเองที่บ้าน ร่วมกับการกำหนดปริมาณอาหารที่สัตว์เลี้ยงได้รับในแต่ละมื้อ ซึ่งผลสำเร็จของการควบคุมระดับน้ำตาล ส่วนหนึ่งต้องขึ้นอยู่กับการดูแลเอาใจใส่ของเจ้าของเป็นหลักด้วย
โรงพยาบาลสัตว์ศรีวรา
1325 ซอยลาดพร้าว 94 (ปัญจมิตร) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพ 10310
โทรศัพท์ 0-2530-7636-7 แฟกซ์ 0-2530-7633
Copyright © 2011 Sriwara Animal Hospital Co. ,Ltd. All rights reserved.