Exotic pets
โรคของ Exotic pets
สรีระวิทยาของ Exotic pets
การเลี้ยง Exotic pets
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสุนัขและแมว
โรคประจำสายพันธุ์
การดูแลลูกสุนัขและแมวกำพร้า
โปรแกรมวัคซีนในสุนัขและแมว
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
เนื้องอกและมะเร็ง
เนื้องอกหรือมะเร็งเต้านม (Canine Mammary Gland Tumors)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
มะเร็งกระดูกในสุนัข (Osteosarcoma)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
ระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
โรคพยาธิหัวใจในสุนัข (Heart Worm Disease in Dogs)
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะหลอดลมตีบในสุนัข
วิธีการตรวจโรคหัวใจ
ภาวะโลหิตจาง (Anaemia)
ระบบประสาท
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
ภาวะความจำเสื่อมในสัตว์เลี้ยงสูงอายุ
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ระบบสืบพันธุ์
การคุมกำเนิด
ภาวะมดลูกอักเสบ (Pyometra)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
โรคกระดูกและข้อ และกายภาพบำบัด
เอ็นข้อเข่าฉีกขาด
ข้อสะโพกเสื่อม
กายภาพบำบัดในสัตว์เลี้ยง
ลูกสะบ้าเคลื่อน
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
โรคตาในสัตว์เลี้ยง
แผลหลุมที่กระจกตา
โรคของจอประสาทตา
โรคตาแห้ง (Dry Eye)
โรคต้อหินและต้อกระจก
โรคหนังตาม้วน
โรคที่สำคัญในแมว
โรคติดเชื้อที่สำคัญในแมว
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
โรคพยาธิเม็ดเลือดในแมว
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
โรคผิวหนัง
โรคขนร่วงแบบไม่ทราบสาเหตุ
โรคผิวหนังจากเชื้อรา
โรคขี้เรื้อน
โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อยีสต์
โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
ภาวะไตวายเรื้อรัง
นิ่วในสุนัข
โรคอื่นๆในสัตว์เลี้ยง
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
Cushings Disease
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
อุปกรณ์การแพทย์ในการตรวจวินิจฉัย
Endoscopy
ลูกสะบ้าเคลื่อน (Patella luxation)
เป็นโรคของข้อเข่าที่พบได้มากในสุนัขขนาดเล็ก เนื่องจากมีขนาดของลูกสะบ้าที่ค่อนข้างเล็กจึงเกิดการเลื่อนหลุดได้ง่าย โดยพบได้ทุกช่วงของอายุ สุนัขจะเดินย่อขาหลังดูคล้ายเป็ด มีอาการลุก-เดินลำบาก ซึ่งภาวะลูกสะบ้าเคลื่อน แบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่
ลูกสะบ้าเคลื่อนเข้าด้านใน (Medial patella luxation) มักพบในสุนัขขนาดเล็ก อาจมีปัจจัยโน้มนำจากเรื่องของน้ำหนักตัว หรือจากสิ่งแวดล้อมบริเวณที่อยู่ เช่น พื้นลื่น
ลูกสะบ้าเคลื่อนออกด้านนอก (Lateral patella luxation) มักพบในสุนัขพันธุ์ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ บางตัวมีสาเหตุโน้มนำมาจากข้อสะโพกเสื่อม
ความรุนแรงของโรคจะแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
เกรด 1
ลักษณะการเดินจะเป็นปกติลูกสะบ้าจะไม่เคลื่อนหลุดเอง แต่จะตรวจพบได้จากการตรวจคลำโดยจะเริ่มดันลูกสะบ้าเข้า-ออก จากแนวกลางได้ง่าย
เกรด 2
เวลาเดินลูกสะบ้าเคลื่อนออกจากแนวกลางได้เองจึงเริ่มเห็นได้ชัดขึ้น การตรวจคลำจะพบได้ง่ายขึ้น
เกรด 3
ลูกสะบ้าจะเคลื่อนออกจากแนวกลางตลอดเวลา และหน้าแข้งจะเริ่มบิดตามแนวของเอ็นลูกสะบ้าที่เคลื่อนไปโดยบิดทำมุมตั้งแต่ 0-60 องศา
เกรด 4
ลูกสะบ้าจะเคลื่อนออกจากแนวกลางตลอดเวลา และหน้าแข้งจะเริ่มบิดทำมุมมากกว่า 60 องศา สุนัขจะเดินย่อๆตลอดเวลา
การรักษาจะเริ่มให้ทำการศัลยกรรมผ่าตัดแก้ไขได้ตั้งแต่เกรด 1 เนื่องจากว่ายิ่งปล่อยทิ้งไว้นานความเสียหายของข้อเข่าก็จะมากขึ้น บางตัวอาจเกิดปัญหาเอ็นข้อเข่าฉีกขาด (cranial cruciate rupture) ตามมาได้ ซึ่งการผ่าตัดก็จะทำได้ยาก และใช้เวลาฟื้นฟูนานขึ้น
โรงพยาบาลสัตว์ศรีวรา
1325 ซอยลาดพร้าว 94 (ปัญจมิตร) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพ 10310
โทรศัพท์ 0-2530-7636-7 แฟกซ์ 0-2530-7633
Copyright © 2011 Sriwara Animal Hospital Co. ,Ltd. All rights reserved.