Exotic pets
โรคของ Exotic pets
สรีระวิทยาของ Exotic pets
การเลี้ยง Exotic pets
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสุนัขและแมว
โรคประจำสายพันธุ์
การดูแลลูกสุนัขและแมวกำพร้า
โปรแกรมวัคซีนในสุนัขและแมว
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
เนื้องอกและมะเร็ง
เนื้องอกหรือมะเร็งเต้านม (Canine Mammary Gland Tumors)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
มะเร็งกระดูกในสุนัข (Osteosarcoma)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
ระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
โรคพยาธิหัวใจในสุนัข (Heart Worm Disease in Dogs)
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะหลอดลมตีบในสุนัข
วิธีการตรวจโรคหัวใจ
ภาวะโลหิตจาง (Anaemia)
ระบบประสาท
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
ภาวะความจำเสื่อมในสัตว์เลี้ยงสูงอายุ
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ระบบสืบพันธุ์
การคุมกำเนิด
ภาวะมดลูกอักเสบ (Pyometra)
เนื้องอกที่อวัยวะสืบพันธุ์ (TVT)
โรคกระดูกและข้อ และกายภาพบำบัด
เอ็นข้อเข่าฉีกขาด
ข้อสะโพกเสื่อม
กายภาพบำบัดในสัตว์เลี้ยง
ลูกสะบ้าเคลื่อน
การดูแลสัตว์เลี้ยงอัมพาต
โรคตาในสัตว์เลี้ยง
แผลหลุมที่กระจกตา
โรคของจอประสาทตา
โรคตาแห้ง (Dry Eye)
โรคต้อหินและต้อกระจก
โรคหนังตาม้วน
โรคที่สำคัญในแมว
โรคติดเชื้อที่สำคัญในแมว
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
โรคพยาธิเม็ดเลือดในแมว
โรคพยาธิหัวใจในแมว (Heart Worm Disease in Cats)
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
โรคผิวหนัง
โรคขนร่วงแบบไม่ทราบสาเหตุ
โรคผิวหนังจากเชื้อรา
โรคขี้เรื้อน
โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อยีสต์
โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคระบบทางเดินปัสสาวะในแมว
ภาวะไตวายเรื้อรัง
นิ่วในสุนัข
โรคอื่นๆในสัตว์เลี้ยง
โรคเบาหวานในสุนัขและแมว
Cushings Disease
โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง
อุปกรณ์การแพทย์ในการตรวจวินิจฉัย
Endoscopy
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง Spinal trauma
การได้รับบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง เกิดขึ้นได้ไม่บ่อย แต่สามารถทำให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงได้ การได้รับบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลังที่พบบ่อยคือ การได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรงทำให้กระดูกสันหลังเคลื่อน หรือหัก ส่งผลทำให้เส้นประสาทไขสันหลังฉีกขาด การกดทับเส้นประสาทไขสันหลังเนื่องจากความเสียหายของหมอนรองกระดูก หรือการเกิดลิ่มเลือด การขาดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อเนื่องจากมีสิ่งอุดตันในเส้นเลือด โดยอาจเกิดอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเกิดขึ้นพร้อมๆกัน ซึ่งเป้าหมายในการรักษาจะเน้นที่การลดความเจ็บปวด และจำกัดการทำลายของเส้นประสาทไขสันหลัง โดยแนวทางการรักษาทำได้ทั้งการรักษาทางยา การผ่าตัด และการกายภาพบำบัด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความเสียหาย สาเหตุ และการพยากรณ์โรค
โรงพยาบาลสัตว์ศรีวรา
1325 ซอยลาดพร้าว 94 (ปัญจมิตร) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพ 10310
โทรศัพท์ 0-2530-7636-7 แฟกซ์ 0-2530-7633
Copyright © 2011 Sriwara Animal Hospital Co. ,Ltd. All rights reserved.